คลังข้อมูลจาก กพอ.

box menu 3 02

1. สื่อทำความเข้าใจเรื่องโควิด-19 โดย COVID-19 Team North-CTN

 

2. กลุ่มเรื่องวิเคราะห์นโยบายของภาคประชาสังคม

 

3. กลุ่มแผน/นโยบายด้านเอดส์

 

4. กลุ่มปฎิรูปสังคมและการเมือง

 

5. กลุ่มงานเสริมศักยภาพการทำงานให้กับองค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ 

5.1 งานเสริมศักยภาพการทำงานกับ อปท

5.2 แนวทางการการสนับสนุนงบการทำงานด้านเอดส์สำหรับองค์กรพัฒนาเอกชน 14-17 เมนูการทำงาน

การพัฒนาเมนูการทำงานด้านป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ ได้พัฒนาขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2560 เพื่อเป็นแนวทางสำหรับองค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ ที่ดำเนินงานภายใต้งบอุดหนุนด้านเอดส์ มุ่งเน้นตอบโจทย์เป้าหมายประเทศ คือ ลดการติดเชื้อรายใหม่ ลดอัตราการตาย และลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยมีหลักการ คือ มุ่งให้เห็นผลลัพธ์ (Impact) ของการทำงานที่เห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน ครอบคลุมประเด็นปัญหาและกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย เน้นสนับสนุนการทำงานกับกลุ่มเป้าหมายที่ยังมีช่องว่างที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากโครงการอื่นๆ ของประเทศ

รายละเอียด 17 เมนูการทำงาน

  1. Menu 1 การทำงานส่งเสริมการเข้าถึงการรักษาเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากเอดส์
  2. Menu 2 การทำงานส่งเสริมการเข้าถึงการรักษาเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากเอดส์
  3. Menu 3 การทำงานส่งเสริมการเข้าถึงการรักษาเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากเอดส์ 
  4. Menu 4 การทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเอดส์และท้องไม่พร้อมสำหรับเยาวชนในสถานศึกษา
  5. Menu 5 การทำงานในเรือนจำ
  6. Menu 6 การทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเอดส์และท้องไม่พร้อมสำหรับเยาวชนในสถานพินิจและศูนย์ฝึก
  7. Menu 7 การทำงานในสถานประกอบการ
  8. Menu 8 การทำงานในกลุ่มมุสลิม
  9. Menu 9 การทำงานในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ
  10. Menu 10 การทำงานในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด
  11. Menu 11 งานลดการรังเกียจกีดกันเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่องกับเอชไอวี/เอดส์
  12. Menu 12-17 งานลดการรังเกียจกีดกันเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่องกับเอชไอวี/เอดส์

 

5.3 คู่มือสำหรับคนทำงานเอดส์ 360 องศา

         คู่มือสำหรับคนทำงานเอดส์ 360 องศา จัดทำขึ้นโดย มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ และคณะกรรมการองค์การพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ โดยการสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) มีวัตถุประสงค์ในการสนับสนุนให้องค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ที่ดำเนินโครงการส่งเสริมป้องกัน การเข้าถึงบริการในกลุ่มผุ้หญิง และการปรับภาพลักษณ์เรื่องเอดส์ที่มีประสิทธิผลและความยั่งยืน ใน 8 จังหวัด สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศ เอดส์ และท้องไม่พร้อม และบูรณาการการดำเนินงานด้านป้องกัน เข้าถึงบริการดูแลรักษา และลดการรังเกียจกีดกันในกลุ่มผู้หญิง ทั้งนี้ องค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์สามารถนำคู่มือฯนี้ไปปรับใช้ในการออกแบบกระบวนการทำงานขององค์กรได้ตามความเหมาะสม <ดาวน์โหลดคู่มือ>

 

6. การปฎิบัติที่ดีเพื่อการมีส่วนร่วม (Good Participatory Practice (GPP))

 

7.สาระเพื่อสุขภาพ

 

8. ข่าวจากสื่อ

 

Go to top